วันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2557

สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) (2/2)


สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) คืออะไร

9 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ25 สิงหาคม 2557 เวลา 10:41

    สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal)
    Posted in ป้ายกำกับ: Digital Signal, สัญญาณดิจิตอล | ที่ 00:00

    สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal)

    เป็นสัญญาณที่มีรูปแบบไม่ต่อเนื่อง มีค่าที่เป็นไปได้ในรูปแบบของแรงดันไฟฟ้าที่มีค่า 0 หรือ 1 เท่านั้น มีข้อดีคือ - เป็นสัญญาณที่ทนต่อการรบกวนได้ดีกว่าสัญญาณแอนะล็อก แต่ข้อเสียคือ - สามารถส่งบนระยะทางได้ไม่ไกลเมื่อเทียบกับสัญญาณแอนะล็อก
    ( ด.ญ พรรมนี ใหญ่โสมะนัง ม.2/2 เลขที่19 )

    ตอบลบ
  2. ไม่ระบุชื่อ25 สิงหาคม 2557 เวลา 10:42

    สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal)

    เป็นสัญญาณที่มีรูปแบบไม่ต่อเนื่อง มีค่าที่เป็นไปได้ในรูปแบบของแรงดันไฟฟ้าที่มีค่า 0 หรือ 1 เท่านั้น มีข้อดีคือ - เป็นสัญญาณที่ทนต่อการรบกวนได้ดีกว่าสัญญาณแอนะล็อก แต่ข้อเสียคือ - สามารถส่งบนระยะทางได้ไม่ไกลเมื่อเทียบกับสัญญาณแอนะล็อก (ด.ญ ยุพา ประเสริฐแก้ว ม.2/2 เลขที่ 15)

    ตอบลบ
  3. ไม่ระบุชื่อ25 สิงหาคม 2557 เวลา 10:43

    สัญญาณดิจิทัล หรือ (อังกฤษ: Digital Signal) เป็นสัญญาณทางกายภาพที่เป็นตัวแทนของลำดับของค่าที่แยกจากกัน(สัญญาณที่มีปริมาณไม่ต่อเนื่องในแกนเวลา) เช่น กระแสบิตที่ไม่มีหลักเกณฑ์หรือสัญญาณอนาล็อกที่ถูกทำเป็นบิทสตรีม(อังกฤษ: digitized)(ถูกสุ่มเลือกและแปลงจากอนาล็อกให้เป็นดิจิตอล ) สัญญาณดิจิตอลสามารถอ้างถึงอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้

    รูปคลื่นสัญญาณตามแกนเวลาที่ต่อเนื่องใดๆที่ใช้ในการสื่อสารแบบดิจิตอลโดยเป็นตัวแทนของกระแสบิตหรือลำดับอื่นๆของค่าไม่ต่อเนื่อง
    ขบวนสัญญาณกระตุกที่สลับไปมาระหว่างจำนวนไม่ต่อเนื่องของระดับแรงดันไฟฟ้า หรือ ระดับของความเข้มของแสง ที่รู้กันว่าเป็นสัญญาณที่เข้ารหัส(อังกฤษ: line coded signal)หรือการส่งสัญญาณเบสแบนด์ ตัวอย่างเช่น สัญญาณที่พบในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลหรือในการสื่อสารแบบอนุกรม หรือ pulse code modulation(PCM)ที่เป็นตัวแทนของสัญญาณแอนะล็อกที่ถูก digitized
    สัญญาณที่ถูกสร้างขึ้นโดยวิธีการกล้ำสัญญาณ(อังกฤษ: modulation)แบบดิจิตอลแบบหนึ่ง (การส่งผ่านแบบ passband ดิจิตอล) ที่จะถูกโอนย้ายระหว่างโมเด็มจะอยู่ในกรณีแรกและจะถือได้ว่าเป็นสัญญาณดิจิตอล ส่วนในกรณีที่สองเป็นการแปลงสัญญาณจากแอนะล็อกให้เป็นดิจิตอล (ด.ญ.ณัฐริการ์ คำโมง ชั้น ม.2/2 เลฃที่17)

    ตอบลบ
  4. ไม่ระบุชื่อ25 สิงหาคม 2557 เวลา 10:51

    สัญญาณดิจิทัล หรือ (อังกฤษ: Digital Signal) เป็นสัญญาณทางกายภาพที่เป็นตัวแทนของลำดับของค่าที่แยกจากกัน(สัญญาณที่มีปริมาณไม่ต่อเนื่องในแกนเวลา) เช่น กระแสบิตที่ไม่มีหลักเกณฑ์หรือสัญญาณอนาล็อกที่ถูกทำเป็นบิทสตรีม(อังกฤษ: digitized)(ถูกสุ่มเลือกและแปลงจากอนาล็อกให้เป็นดิจิตอล ) สัญญาณดิจิตอลสามารถอ้างถึงอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้

    รูปคลื่นสัญญาณตามแกนเวลาที่ต่อเนื่องใดๆที่ใช้ในการสื่อสารแบบดิจิตอลโดยเป็นตัวแทนของกระแสบิตหรือลำดับอื่นๆของค่าไม่ต่อเนื่อง
    ขบวนสัญญาณกระตุกที่สลับไปมาระหว่างจำนวนไม่ต่อเนื่องของระดับแรงดันไฟฟ้า หรือ ระดับของความเข้มของแสง ที่รู้กันว่าเป็นสัญญาณที่เข้ารหัส(อังกฤษ: line coded signal)หรือการส่งสัญญาณเบสแบนด์ ตัวอย่างเช่น สัญญาณที่พบในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลหรือในการสื่อสารแบบอนุกรม หรือ pulse code modulation(PCM)ที่เป็นตัวแทนของสัญญาณแอนะล็อกที่ถูก digitized
    สัญญาณที่ถูกสร้างขึ้นโดยวิธีการกล้ำสัญญาณ(อังกฤษ: modulation)แบบดิจิตอลแบบหนึ่ง (การส่งผ่านแบบ passband ดิจิตอล) ที่จะถูกโอนย้ายระหว่างโมเด็มจะอยู่ในกรณีแรกและจะถือได้ว่าเป็นสัญญาณดิจิตอล ส่วนในกรณีที่สองเป็นการแปลงสัญญาณจากแอนะล็อกให้เป็นดิจิตอล (ด.ญ.ฐานมาศ ศรีสัมฤทธิ์ ชั้น ม.2/2 เลขที่14)

    ตอบลบ
  5. ไม่ระบุชื่อ26 สิงหาคม 2557 เวลา 12:45

    เป็นสัญญาณที่มีรูปแบบไม่ต่อเนื่อง มีค่าที่เป็นไปได้ในรูปแบบของแรงดันไฟฟ้าที่มีค่า 0 หรือ 1 เท่านั้น มีข้อดีคือ - เป็นสัญญาณที่ทนต่อการรบกวนได้ดีกว่าสัญญาณแอนะล็อก แต่ข้อเสียคือ - สามารถส่งบนระยะทางได้ไม่ไกลเมื่อเทียบกับสัญญาณแอนะล็อก (ด.ญ ยุพา ประเสริฐแก้ว ม.2/2 เลขที่ 15)

    ตอบลบ
  6. ไม่ระบุชื่อ26 สิงหาคม 2557 เวลา 12:50

    สัญญาณดิจิทัล หรือ (อังกฤษ: Digital Signal) เป็นสัญญาณทางกายภาพที่เป็นตัวแทนของลำดับของค่าที่แยกจากกัน(สัญญาณที่มีปริมาณไม่ต่อเนื่องในแกนเวลา) เช่น กระแสบิตที่ไม่มีหลักเกณฑ์หรือสัญญาณอนาล็อกที่ถูกทำเป็นบิทสตรีม(อังกฤษ: digitized)(ถูกสุ่มเลือกและแปลงจากอนาล็อกให้เป็นดิจิตอล ) สัญญาณดิจิตอลสามารถอ้างถึงอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้

    รูปคลื่นสัญญาณตามแกนเวลาที่ต่อเนื่องใดๆที่ใช้ในการสื่อสารแบบดิจิตอลโดยเป็นตัวแทนของกระแสบิตหรือลำดับอื่นๆของค่าไม่ต่อเนื่อง
    ขบวนสัญญาณกระตุกที่สลับไปมาระหว่างจำนวนไม่ต่อเนื่องของระดับแรงดันไฟฟ้า หรือ ระดับของความเข้มของแสง ที่รู้กันว่าเป็นสัญญาณที่เข้ารหัส(อังกฤษ: line coded signal)หรือการส่งสัญญาณเบสแบนด์ ตัวอย่างเช่น สัญญาณที่พบในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลหรือในการสื่อสารแบบอนุกรม หรือ pulse code modulation(PCM)ที่เป็นตัวแทนของสัญญาณแอนะล็อกที่ถูก digitized
    สัญญาณที่ถูกสร้างขึ้นโดยวิธีการกล้ำสัญญาณ(อังกฤษ: modulation)แบบดิจิตอลแบบหนึ่ง (การส่งผ่านแบบ passband ดิจิตอล) ที่จะถูกโอนย้ายระหว่างโมเด็มจะอยู่ในกรณีแรกและจะถือได้ว่าเป็นสัญญาณดิจิตอล ส่วนในกรณีที่สองเป็นการแปลงสัญญาณจากแอนะล็อกให้เป็นดิจิตอล

    ตอบลบ
  7. ไม่ระบุชื่อ26 สิงหาคม 2557 เวลา 12:53

    สัญญาณดิจิทัล หรือ (อังกฤษ: Digital Signal) เป็นสัญญาณทางกายภาพที่เป็นตัวแทนของลำดับของค่าที่แยกจากกัน(สัญญาณที่มีปริมาณไม่ต่อเนื่องในแกนเวลา) เช่น กระแสบิตที่ไม่มีหลักเกณฑ์หรือสัญญาณอนาล็อกที่ถูกทำเป็นบิทสตรีม(อังกฤษ: digitized)(ถูกสุ่มเลือกและแปลงจากอนาล็อกให้เป็นดิจิตอล ) สัญญาณดิจิตอลสามารถอ้างถึงอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้

    รูปคลื่นสัญญาณตามแกนเวลาที่ต่อเนื่องใดๆที่ใช้ในการสื่อสารแบบดิจิตอลโดยเป็นตัวแทนของกระแสบิตหรือลำดับอื่นๆของค่าไม่ต่อเนื่อง
    ขบวนสัญญาณกระตุกที่สลับไปมาระหว่างจำนวนไม่ต่อเนื่องของระดับแรงดันไฟฟ้า หรือ ระดับของความเข้มของแสง ที่รู้กันว่าเป็นสัญญาณที่เข้ารหัส(อังกฤษ: line coded signal)หรือการส่งสัญญาณเบสแบนด์ ตัวอย่างเช่น สัญญาณที่พบในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลหรือในการสื่อสารแบบอนุกรม หรือ pulse code modulation(PCM)ที่เป็นตัวแทนของสัญญาณแอนะล็อกที่ถูก digitized
    สัญญาณที่ถูกสร้างขึ้นโดยวิธีการกล้ำสัญญาณ(อังกฤษ: modulation)แบบดิจิตอลแบบหนึ่ง (การส่งผ่านแบบ passband ดิจิตอล) ที่จะถูกโอนย้ายระหว่างโมเด็มจะอยู่ในกรณีแรกและจะถือได้ว่าเป็นสัญญาณดิจิตอล ส่วนในกรณีที่สองเป็นการแปลงสัญญาณจากแอนะล็อกให้เป็นดิจิตอล ( ด.ญ ฐานมาศ ศรีสัมฤทธิ์ ม.2/2 เลขที่14)

    ตอบลบ
  8. ไม่ระบุชื่อ26 สิงหาคม 2557 เวลา 12:54

    สัญญาณดิจิตอล (Digital Signal)

    เป็นสัญญาณที่มีรูปแบบไม่ต่อเนื่อง มีค่าที่เป็นไปได้ในรูปแบบของแรงดันไฟฟ้าที่มีค่า 0 หรือ 1 เท่านั้น มีข้อดีคือ - เป็นสัญญาณที่ทนต่อการรบกวนได้ดีกว่าสัญญาณแอนะล็อก แต่ข้อเสียคือ - สามารถส่งบนระยะทางได้ไม่ไกลเมื่อเทียบกับสัญญาณแอนะล็อก

    ตอบลบ
  9. ไม่ระบุชื่อ26 สิงหาคม 2557 เวลา 13:06

    ระบบสี CMYK เป็นระบบสีที่ใช้กับเครื่องพิมพ์ CMYK ย่อมาจาก cyan (ฟ้าอมเขียว) magenta (แดงอมม่วง) yellow (เหลือง) key (ดำ) ซึ่งเป็นชื่อสีที่นำมาใช้ การผสมสีทั้งสี่นี้ จะทำให้เกิดสีได้อีกหลายร้อยสี นำมาใช้ในการพิมพ์สีต่าง ๆ ซึ่งปกติการเลือกใช้สีนั้น จะมีด้วยกันอยู่ 2 แบบคือ CMYK และ RGB สามารถแบ่งแยกประเภทการใช้งานได้ง่ายๆ นั้นก็คือ ถ้าเป็นสีที่ต้องพิมพ์ออกมา ไม่ว่าจะพิมพ์ในรูปแบบใดก็ตาม จะต้องใช้ค่าสีของ CMYK แต่ถ้าต้องการสีที่แสดงผลออกทางหน้าจอ ก็จะเืลือกใช้ RGB เท่านั้น ซึ่งหลักการดังกล่าว ในปัจจุบัน ยังมีผู้มีความเข้าใจในส่วนนี้น้อยมาก เนื่องจากว่า นักออกแบบมือสมัครเล่น หรือ มือใหม่ เวลาต้องการจะทำงานประเภทสิ่งพิมพ์ ก็มักตั้งค่าสีเป็น RGB เพราะว่าค่าสีดังกล่าวสีสดกว่า แต่เมื่อสั่งพิมพ์แล้ว ทำให้ค่าสีที่ออกมาผิดเพี้ยน มากหรือน้อย ก็ขึ้นอยู่กับสีที่เลือก เช่น เลือกสีแดง อาจจะได้สีชมพู เหลือสีม่วง อาจจะได้สีน้ำเงิน ดังนั้นผู้ที่ใช้โหมดสีควรจะทำความเข้าใจของงานให้มาก เพื่องานที่ออกมาจะได้ค่าสีที่ตรงกับความต้องการ(ด.ช.ศุภศร เพ็งวัน ชั้น2/2 เลขที่ 10)

    ตอบลบ